1. เลือกตำราที่ต้องการเขียน (Choosing a text)
1.1 เลือกตำราที่สอนอยู่เป็นประจำ
1.2 เลือกตำราที่เคยสอน
1.3 เลือกตำราที่สามารถเจาะลึกในเนื้อหาได้
1.4 กำหนดชื่อตำราให้เฉพาะเจาะจง
1.5 หยุดการกำหนดชื่อตำราถ้าหากมีข้อมูลประกอบการค้นพอเพียงแล้ว
2. อ่านข้อมูลของเนื้อหาวิชาเพื่อเป็นพื้นความรู้ (Reading for background)
3. การจัดทำโครงเรื่องตำราครั้งแรก (The Perliminary outline)
4. รวบรวมบรรณานุกรม (The working bibliography)
5. รู้จักแหล่งในการค้นและการวบรวมข้อมูล (Where to find information)
5.1 จากบัตรรายการ
5.2 จากหนังสืออ้างอิง
5.3 จากแหล่งอื่น ๆ ภายในห้องสมุด
5.4 จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากสถานศึกษาที่เรียนรู้
5.5 จากระบบอินเทอร์เน็ต
6. การใช้ข้อมูลเอกสารอ้างอิง (Using sources of information)
6.1 ก่อนใช้เอกสารทั่ว ๆ ไปให้พิจารณาสิ่งต่อไปนี้
6.1.1 ดูความเชื่อถือได้
6.1.2 ดูความทันสมัย
6.1.3 ดูครั้งที่พิมพ์
6.1.4 ดูรูปเล่ม
6.1.5 ดูวิธีการจัดพิมพ์
6.1.6 ดูรายการบรรณานุกรมประกอบ
6.1.7 ดูลักษณะพิเศษอื่น ๆ
6.2 ให้ใช้หนังสืออ้างอิงให้มากที่สุด
6.3 ให้ใช้แหล่งข้อมูลจากระบบอินเทอร์เน็ต และแหล่งอื่น ๆ เพิ่มเติม
6.4 ต้องมีการจดโน้ตข้อความเอกสารที่ใช้
7. การจัดทำโครงเรื่องตำราครั้งสุดท้าย (The final outline)
8. เริ่มลงมือเขียนและทำการทบทวนตำราที่เขียน (Writing and revising)
9. การอ้างอิงแหล่งที่มาของตำรา (Documenting your text)
9.1 การเขียนรายการอ้างอิง
9.2 การเขียนบรรณานุกรม
10. การเขียนตำราฉบับสมบูรณ์ (Final writing)