1633201 การจัดหมู่ 2
Classification 2

ภาคปลาย ปีการศึกษา 2543
2 (2-1)

การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน : หมวด Z

หมวด Z  เป็นหมวดที่เกี่ยวกับบรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์  จึงเป็นหมวดหมู่ที่ได้เริ่มดำการจุดทำ เป็นหมวดแรกในปี ค.ศ. 1902 พิมพ์ครั้งที่ 2ในปี ค.ศ.  1910  พิมพ์ครั้งที่ 3 ในปี ค.ศ. 1927 พิมพ์ครั้งที่ 4 ในปี ค.ศ. 1959  และพิมพ์ครั้งที่ 5 ในปี ค.ศ. 1980

หมวด Z นี้เป็นหมวดที่ไม่มีการแบ่งย่อยเป็นตัวอักษร Z กระจายอยู่ในหมู่ในเรื่องของ บรรณานุกรมทุกสาขาวิชาและทุกประเภทจะรวมอยู่ด้วยกัน  ซึ่งนับว่าเป็นข้อดีสำหรับนักค้นคว้าวิจัย เป็นอย่างยิ่ง 

สำหรับบรรณานุกรมเกี่ยวกับเรื่องดนตรีและกฏหมายไม่ได้รวมอยู่ในหมวด Z เพราะเหตุว่าหนังสือทั้งสองวิชามีลักษณะเฉพาะ

ขอบเขต 

หมวด Z เป็นหมวดที่เกี่ยวกับเรื่องยรรณานุกรมและบรรณารักษศาสตร์ ซึ่งมีขอบเขตการแบ่งย่อยโดยสังเขป ดังต่อไปนี้

    Z                  หนังสือทั่วไป  วิธีการเขียน  วิชาว่าด้วยหนังสือโบราณ [ BOOKS  IN GENERAL ]
    4   -    8        ประวัติหนังสือและการทำหนังสือ [ History  of  book and bookmaking ]
    40 - 115.5   วิธีการเขียน [ Writing ]
    41 - 42.5      ลายมือ  ลายเส้น [ Autographs.   Singatures ]
    43 - 45         การประดิษฐ์ตัวอักษร [ Calligraphy. penmanship ]
    48       กระบวนการทำสำเนา [ Copying processes ]
    49 - 51.5      การพิมพ์ดีด [Typewriting ]
    52 - 52.5
    53 - 102      ชวเลข สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนชวเลข การใช้สัญลักษณ์แทนเสียง [ Shorthand.Sgenograhy.Phongraphy ]
    102.5 - 104  หนังสือที่ใชในอักษรลับ [ Cryptography.Ciphers.Codes]
    104.5  การเขียนที่แลไม่เห็น [Invisidle writing ]
    105  - 115.5  วิชาว่าด้วยหนังสือโบราณ ต้นฉบับเขียนด้วย [ Paleography.Manuscripts ]

อุตสาหกรรมหนังสือและการค้าหนังสือ [ BOOK   INDUSTRIES  AND  TRADE ]  

    116.A2   ตำราการพิมพ์หนังสือใหม่ [ Treatises  on  the moder printed book ]
    .A3  การออกแบบหนังสือ [ Book  Desing ]
    116.A5 - 265  การพิมพ์ [ Printing ]
    124 - 228       ประวัติ [History ]
    231 - 232       โรงพิมพ์และการก่อตั้ง [ Printers  and printingestablishmets ]
    235 - 236       เครื่องหมายของโรงพิมพ์ คติพจน์ [Printer' s  marks,mottoes,etc]
    237       กระดาษ ลายน้ำกระดาษ [ Paper.Watermarks,etc.]
    239 - 239.9    หนังสือตัวอย่างของการพิมพ์ ที่ปราณีตสวยงามที่มีคุณค่า [ Books, moteworthy as examples of fine printing ]
    240 - 241.5    อินคูนาบูลา หนังสือที่พิมพ์ด้วยตัวแกะไม้ [Incunabla.biock book] รวมทั้งแผ่นพับ ไพ่
    243 - 264.5   การพิมพ์ในด้านการปฏิบัติ [Practicalprinting]รวมทั้งธุรกิจการพิมพ์ การจัดหน้า หรือการวางหน้าสิ่งพิมพ์งานพิมพ์
    265     การจำลองหนังสือ เอกสาร ฯลฯโดยการถ่ายรูป การถ่ายรูปย่อ ของวัตถุขนาดใหญ่ ฯลฯ [ Reproduytion  of book documents,etc.by photography,microphotography,etc.]
    266 - 267      การเย็บเล่มหนังสือ การประดับตกแต่งหนังสือ [Book binding.Book decpration]
    278 - 549      การเขียนหนังสือและการพิมพ์ [Freedom of the press ]
    551 - 659      ลิขสิทธิ์ [Copyright]
    657 - 659      เสรีภาพในการพิมพ์ [ Freedom of the press ]

ห้องสมุด [ LIBRARIES] 

    665 - 718.8   บรรณารักษศาสตร์ สารนิเทศศาสตร์ [Library science.Informating science .Information science]
    672    ความร่วมมือและประสานงานระหว่างห้องสมุด [Library cooperation and cooperation ]
    674.7 - 674.83  ข่ายงานสารนิเทศห้องสมุด [Library infomation networks]
    675      ประเภทของห้องสมุด [Classes of Libraries]
    678 - 678.88     องค์การและการบริการห้องสมุด [Library administration and organization]
    678.89 - 678.892 หน่วยงานที่ให้บริการงานห้องสมุด [ Library servics agencies ]
    678.9   ระบบอัตโนมัติ [ Automation]
    678 - 680   สถปัตยกรรม [Architecture]รวมทั้งการวางแผน การใช้ประโยชน์จากเนื้อที่ ความมั่นคง ความปลอดภัย แสงสว่าง ฯลฯ [Inculdingpianning,spaceutilization,security,  safty, lighting,etc.]
    680.3 - 680.6 ระบบการสื่อสารของห้องสมุด โทรพิมพ์ [Library communication systems.teletype]
    681  การถ่ายภาพและการจำลองภาพทางบรรณารักษศาสตร์ [Photography and other methods of reproducation in library science]
    681.5  กรรมการ คณะกรรมการห้องสมุด [Trustees.Library bords,committees,ect.]
    682 - 682.3  บุคลากร [Personne]
    683 - 683.5  การเงินการประกันภัย [Finance. Insurance]
    684 - 685  พัสดุ ชั้นหนังสือ ที่เก็บหนังสือ [Supplies.Shelving. Bookstacks]
    686  ห้องสมุดสาขา ศูนย์หนังสือ ห้องสมุดเคลื่อนที่ [Branches. Delivery station.Bookmobile]
    687 - 718.8  ทรัพยากรห้องสมุด หนังสือ [The collection. The books]
    688  สิ่งพิมพ์เฉพาะ [Special collections]
    688.5  งานเทคนิค [Processing]
    689  งานจัดหา ( การคัดเลือก การจัดซื้อ สิ่งที่ได้เปล่า การถ่ายสำเนา )[Acquisition ]( Selection, purchase, giftsduplicates)
    690  การแลกเปลี่ยน [Exchangea]
    691 - 692  ประเภทเฉพาะของวัดุ[Special classes of materials]รวมทั้งต้นฉบับตัวเขียน แผนที่ วัสดุย่อส่วน สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [Including manuscripts, maps, microforms,serials]
    693 - 695.83 การทำบัตรรายการ [Cataloging]
    695.85  งานเขียนในห้องสมุLibrary handwriting]
    695.87  การพิมพ์บัตรรายการ [Printing of catalogs]
    695.9 - 695.94 งานตัชนี งานสาระสังเขป [Indexing. Abstracting]
    695.95  การจัดลำดับตัวอักษร การเรียงบัตร [Alphabetizing. Filing]
    695.98 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ [Recataloging.Reclassification]
    696 - 697  การจัดหมู่หนังสือและสัญลักษณ์ [Classification and notation]
    698  บัตรแจ้งหมู่หนังสือ สัญลักษณ์ผู้แต่ง [Shelflisting.Author notation]
    699 - 699.5  วิธีค้นคืนข้อสนเทศด้วยเครื่องจักรกล [Machine methods of information and retrieval]

การควบคุมบรรณานุกรมด้วยเครื่องจักรกล{Mechanized bibliographic control]

    700  การเย็บเล่มหนังสือ [Bookbinding]
    701 - 701.5  การระวังรักษาหนังสือ [Injuries to books]
    702  การขโมยและการสูญหายของหนังสือ [Thefts and losses of books]
    703.5 - 703.6 การเลื่อนย้าย การจัดหนังสือบนชั้น ฯลฯ [Moving. Disposition of books on shelves,etc.]   รวมทั้งการคัดหนังสอออก การจำหน่ายออก [Including discarding, weeding]
    711 - 711.92 การบริการตอบคำถาม การให้บริการห้องสมุดเฉพาะกลุ่ม [Reference work, Library service to special groups]
    712 - 714  การจ่ายรับหนังสือ การให้ยืม ระบบการให้ยืม [Circulation. Loans. Charging systems]
    716 - 716.1  การขยายกิจการของห้องสมุด ห้องสมุดเคลื่อนที่ [Library extension. Travling libraries]
    716.2 - 718.8 ความสัมพันธ์ของห้องสมุดกับสาขาวิชาเฉพาะ[Libraries in relation to special topics] รวมทั้งห้องสมุดชุมขน ห้องสมุดและวิทยุ ห้องสมุดและนักเรียนนักศึกษา[Including libraries and commonity,libraries and radio, libraries and students]
    719 - 725  ห้องสมุด(ทั่วไป) [Libraries (General) ]
    729 - 871  รายงานห้องสมุดของห้องสมุดแต่ละแห่ง ประวัติ สถิติ [Libraries reports of inividual libraries. History. Statistics]
    881 - 980  รายการหนังสือและวารสารของห้องสมุด [Library catalogs and bulletins]
    987 - 997  ห้องสมุดส่วนบุคคล การสะสมหนังสือ {Private libraries. Book collecting]รวมทั้งบรรณสิทธฺ [Including bookplates]
    998 - 1000.5 รายการหนังสือของรัานขายหนังสือ ราคาหนังสือ [Booksellers' catalogs. Book prices]

ตัวอย่างการให้เลขหมู่ หมวด Z

    ชื่อผู้แต่ง ศิลปากร, กรม . กองหอสมุดแห่งชาติ
    ชื่อหนังสือ บรรณานุกรมแห่งชาติ มกราคม - มีนาคม 2529
    พิมพลักษณ์ กรุงเทพฯ : ม.ป.ท, 2530
    บรรณลักษณ์ 65 หน้า

การให้เลขหมู่

    จากหน้าปกนอก หนังสืออยู่ในหมวด Z
    จากหน้า Synopsis หนังสืออยู่ในหมวดย่อย Z
    จากหน้า Outline หนังสืออยู่ในช่วงขอบเขตหมู่ย่อย Libraries
    Z 674.2 - 674.5 Information Services. Information Centers
    จากหน้ารายละเอียดเนื้อหา ( Schedule ) หนังสือน่าจะมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเรื่อง ในบรรทัดต่อไปนี้
    Z Library science . Information science - Continued
    Z 674 Collected works (nonserial )
    .25 Bibliography
    จากหน้า Index มีคำว่า Bibliographical centers ตรงกับเลขหมู่ที่ให้ใช้คือ Z 6742
    จากหนังสือหัวเรื่อง มีหัวเรื่องว่า บรรณานุกรมแห่งชาติ ตรงกับเลขหมู่ที่ให้ใช้คือ Z 6742
    มีหัวเรื่องว่า บริการบรรณานุกรม ตรงกับเลขหมู่ที่ให้ใช้คือ Z 6742
    สรุปว่าเลขหมู่ที่เหมาะสมกับหนังสือเล่มนี้คือ
      Z
      674
      ศ528 บ
      2530

หน้าสารบัญ