|
ปญหาของการสื่อสาร ปญหาที่เกิดขึ้นระหวางการสื่อสารนั้นมีหลายสาเหตุ และสามารถเกิดขึ้นไดทุก ขั้นตอนของกระบวน
การสื่อสาร ซึ่งพอจะแยกปญหาออกได ดังนี้
1 ปญหาที่เกิดจากผูสงสารและผูรับสาร โดยธรรมชาติแลวมนุษยจะมีความ แตกตางกันทั้งความรู ความ
คิด ประสบการณ ซึ่งความแตกตางระหวางบุคคลนี้เองที่ทําใหมนุษย ตีความสารตางกันทําใหเกิดปญหาใน
การสื่อสารได
2 ปญหาที่เกิดจากสาร สารหรือขอมูลอาจทําใหเกิดปญหาในการสื่อสารได ซึ่งมีอยู 2 ประการ คือ
1 ปญหาจากคุณภาพของสาร ไดแก ความถูกตอง ความชัดเจน ความยาก งายความเหมาะสม
ความมีคุณคา หรือสาระของสาร
2 ปญหาจากปริมาณของสาร ไดแก ความมากนอย ความเร็วชา หรือความถี่ ปญหาที่เกิดจากสื่อ
สื่อที่ใชในการสื่อสารนั้นมี 2 ประเภท คือ สื่อที่ใชภาษา และสื่อที่ไมใชภาษา
- สื่อที่ใชภาษา ไดแก ภาษาพูด และภาษาเขียน อาจทําใหเกิดปญหาในการ สื่อสาร
ดวยสาเหตุการใชภาษาพูด และภาษาเขียนไมชัดเจน เชน พูดออกเสียงไมชัด การเลือกใชคํา ไมตรง
กับความหมาย การแบงวรรคตอน จังหวะการพูด การพูดหรือเขียนสั้นเกินไป หรือยาวเกินไป เปนตน
- สื่อที่ไมใชภาษา สื่อที่ทําใหเกิดปญหาในการสื่อสาร อาจมีสาเหตุมาจาก มีขนาดเล็ก
เกินไป ความไมชัดเจนของสื่อ เชน รูปภาพ สัญลักษณ วัตถุสิ่งของ การทําสัญญาณการเคลื่อน ไหว
การทําทาทาง เปนตน
ภาษามีความสําคัญตอมนุษยมาก ทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต เพราะมนุษยใชภาษาเปนเครื่องมือในการ ติดตอ
สื่อสารและถายทอดวัฒนธรรมตาง ๆ สังคมยิ่งขยายกวางออกไปเพียงใด ความจําเปนที่ตองใชภาษา ติดตอสื่อสารยอมจะมี
มากขึ้นเพียงนั้น เพื่อใหคนจํานวนมากเขาใจตรงกัน มิฉะนั้นก็อาจจะเกิดเรื่องที่เปน ปญหายุงยากในสังคมขึ้นได ความสามารถ
ในการใชภาษาจึงเปนคุณสมบัติอยางหนึ่งซึ่งผูหวังความสําเร็จใน ชีวิตสวนตัวและการงานจะตองมีภาษามีความสําคัญหลัก 2
ประการ คือ
1. ภาษามีความสําคัญในฐานะเปนเครื่องมือสื่อสาร
2. ภาษามีความสําคัญในฐานะเปนเครื่องมือสืบคน
ภาษามีความสําคัญในฐานะเปนเครื่องมือสื่อสาร องคประกอบที่สําคัญที่สุดในการสื่อสาร คือ สาร หมายถึง เนื้อหา
สาระ หรือใจความที่ตองการ สื่อใหอีกคนหนึ่งรู การสื่อสารจะประสบผลสําเร็จไดจะตองมีภาษาเปนองคประกอบที่สําคัญ เนื้อ
หาของสารจะ ไมสามารถถายทอดไดถาไมมีภาษา จึงอาจกลาวไดวาภาษาคือตัวนําสารนั่นเอง ภาษาที่ผูสงสารเลือกใชภาษา
ใน การเสนอสารที่เหมาะสมกับผูรับสาร ในดานความรูและทักษะการใชภาษา จะทําใหเกิดการรับรูเขาใจตรงกัน และประสบ
ผลสําเร็จในกิจการงานรวมกันเปนอยางดี สามารถแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น และ ประสบการณซึ่งกันและกัน ทําใหอยู
รวมกันเปนกลุม และเปนสังคมที่มีแบบแผน อันเปนผลใหสังคมเจริญ และพัฒนายิ่ง ๆ ขึ้น
ประเภทของภาษา
ภาษาที่ใชในการติดตอสื่อสารในชีวิตประจําวัน แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ วัจนภาษา หรือภาษาถอยคํา
และอวัจนภาษา หรือภาษาที่ไมใชถอยคํา
1. วัจนภาษา หรือภาษาถอยคํา คือ ภาษาที่ใชคําพูดหรือลายลักษณอักษรเขียนแทนคําพูดที่ กําหนดตกลงใช
รวมกันในสังคม ใหทําหนาที่แทนมโนภาพของสิ่งตาง ๆ ที่ปรากฎแกมนุษย ภาษาถอยคํา เปน ภาษาที่มนุษยสรางขึ้นอยางมี
ระบบมีหลักเกณฑทางภาษาหรือไวยากรณ ซึ่งคนในสังคมตองเรียนรู และใช ภาษาในการฟง พูด อาน เขียนและคิด
การใชวัจนภาษาในการสื่อสารควรพิจารณาเรื่องตอไปนี้
1.1 ความชัดเจนและถูกตอง กลาวคือ ตองเปนภาษาที่เขาใจตรงกันทั้งผูรับสารและสงสาร และถูกตองตาม
หลักภาษา สําหรับหลักภาษาไทยนั้นผูสงสารตองคํานึงถึง
1.1.1 ความหมายของคํา คําในภาษาไทยมีทั้งความหมายตรง และความหมาย
แฝง ผูสง สารตองศึกษากอนใชคําเหลานั้น เพื่อขจัดปญหาความคลุมเครือบางครั้งผูสงสารจําเปนตองมี
ปริบททางภาษา ไดแก คําขยายเพื่อประกอบวัจนภาษาใหเขาใจไดชัดเจนยิ่งขึ้น เชน ตนเสลา (สะ-เหลา)
เปนตนไมที่ลําตน เกลี้ยงเกลาขึ้นอยูใกลกับเพิงเสลา (เส-ลา)
1.1.2 การเขียนและการออกเสียงคํา ในการเขียนผูสงสารตองระมัดระวังเรื่อง
สะกดการันต ในการพูดตองระมัดระวังเรื่องการออกเสียง ตองเขียนและออกเสียงใหถูกตองเพราะคําใน
ภาษาไทยถาเขียน ผิดออกเสียงผิด ความหมายก็จะเปลี่ยนแปลงทําใหการรับรูสารคลาดเคลื่อนได เชน "
เขาทอดผาบังสกุล" (ควรใชบังสุกุล แปลวาผาเปอนฝุนที่ชักมาจากศพ สวนบังสกุล แปลวา บังวงศตระกูล
"ที่อําเภอเชียงแสนมีซากสลักหักพังมากมาย" (ควรใช ปรักหักพัง เพราะปรัก แปลวา หัก, พัง สวน สลัก
แปลวา การแกะใหเปนลวดลายสวยงาม)
1.1.3 การเรียบเรียงประโยค ผูสงสารจําเปนตองศึกษาโครงสรางประโยคเพื่อวาง
ตําแหนง ของคําในประโยคใหถูกตอง ถูกที่ไมสับสน
โครงสรางประโยคในภาษาไทยจะเรียง ประธาน กริยา กรรม (แตอาจมีบางประโยคที่กรรมกลับ มาอยูหนาประธานไดบาง)
หากมีคําขยายมักจะอยูขางหลังคําที่ถูกขยายดังนี้
ประธาน + ขยายประธาน + กริยา + ของกริยา
ประตูสีขาวเปดกวาง
ประธาน + ขยายประธาน + กริยา + กรรม + ขยายกรรม + ขยายกริยา
นักเรียนตัวเล็กเดินขามถนนใหญอยางรวดเร็ว
1.2 ความเหมาะสม เพื่อใหการสื่อสารบรรลุเปาหมาย ผูสงสารตองคํานึงถึง
1.2.1 ใชภาษาใหเหมาะสมกับลักษณะการสื่อสาร ผูสงสารตองพิจารณาวาสื่อสาร กับ
บุคคล กลุมบุคคล มวลชน เพราะขนาดของกลุมมีผลตอการเลือกใชภาษา เชน การสื่อสารกับ
มวลชน ตองใชภาษาที่เขาใจงาย ไมมีศัพททางวิชาการเชน
ในแคมปสของเราไมมีพอลลูชั่นเกิดขึ้นแนนอน
ควรใช ในบริเวณของเราไมมีมลภาวะเกิดขึ้นแนนอน
1.2.2 ใชภาษาใหเหมาะสมกับลักษณะงาน เชน งานประชาสัมพันธ งานโฆษณา งาน
ประชุม ฯลฯ แตละงานมีภาษาเฉพาะผูสงสารจําเปนตองเรียนรูลักษณะงานและลักษณะภาษาที่
เหมาะสม กับงานนั้น ๆ เชน การประชุมสามัญประจําปจะตองมีการเสนอวาระการประชุมกอน
การแปรญัตติกันอยางกวางขวาง
1.2.3 ใชภาษาใหเหมาะสมกับสื่อ ผูสงสารจะตองรูจักความตางของสื่อและความตาง
ของ ภาษาที่ใชกับแตละสื่อ เชน สื่อบุคคล อาจใชจิตวิทยาทางภาษาเขามาเกี่ยวของ สื่อโฆษณา
ตองใชภาษาที่กระชับ กระตุนความสนใจของผูรับสาร เชน โดนใจใชเลย คารปโก ซาไมไรสาระ
1.2.4 ใชภาษาใหเหมาะสมกับผูรับสารเปาหมาย ผูรับสารเปาหมาย ไดแก กลุมผูรับสาร
เฉพาะที่ผูสงสารคาดหวังได ผูสงสารตองวิเคราะหผูรับสารที่เปนเปาหมายของการสื่อสารและ
เลือกใชภาษาให เหมาะสมกับผูรับสารนั้น ๆ เชน วัยรุนตองใชภาษาที่สะดุดตาสะดุดใจ เชน เย็น
ใจแนจริง ประมาณนั้น สุดสุด ไปเลย
2. อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไมใชถอยคํา เปนภาษาซึ่งแฝงอยูในถอยคํากริยาอาการตาง ๆ ตลอด จนสิ่งอื่น ๆ ที่เกี่ยว
ของกับการแปลความหมาย เชน น้ำเสียง การตรงตอเวลา การยิ้มแยม การสบสายตา การ เลือกใชเสื้อผา เปนตน สิ่งเหลานี้
แมจะไมใชถอยคํา แตก็สามารถสื่อความหมายใหเขาใจได ในการสื่อสารมักมี อวัจนภาษาเขาไปแทรกอยูเสมออาจตั้งใจหรือ
ไมตั้งใจก็ได บรรพต ศิริชัย (2533:21-23) ไดแบงอวัจนสารไว 7 ประเภทคือ
2.1 เทศภาษา (เท-สะ-พา-สา) หมายถึง อวัจนสารที่เกิดจากลักษณะของสถานที่ที่ใชติดตอ สื่อสารกัน
ระยะหางที่ผูสื่อสารอยูหางกัน ทั้งสถานที่และชวงระยะเวลา ซึ่งจะสื่อใหเราไดทราบถึงความหมาย
บางอยางของผูกําลังสื่อสารกันไดอยางชัดเจน ทั้งเนื้อที่ หรือระยะใกลไกล ในการสื่อสารก็ยอมที่จะมี
ความ หมายเชนกัน เชน สถานภาพของบุคคลในสถานที่ทํางานคือ บุคคลที่เปนผูบังคับบัญชาอาจจะ
นั่งทํางานใน หองคนเดียว หากจําเปนตองอยูรวมกับผูอื่นเนื้อที่สําหรับโตะทํางานอาจจะใหญกวา สวน
ผูอยูใตบังคับ บัญชาอาจจะอยูรวม ๆ กัน เปนตน
กริซ สืบสนธิ์ (2526:98-99) แบงระยะหางระหวางบุคคลได 4 ประเภท โดยกําหนดตามความ รูสึก ทัศนคติ ตาม
สภาพสังคมวัฒนธรรม ความสัมพันธระหวางผูสื่อสารและผูรับสาร และเนื้อหาสาระของ สารคือ
ก. ระยะใกลชิด (Intimatic Destance) เปนระยะที่ใกลที่สุดของทั้งสองฝาย เชน การกอดรัด การสัมผัส
การคุยชิดตัว เปนตน
ข. ระยะสวนบุคคล (Personal Distance) เปนระยะหางที่สงวนไวสําหรับเพื่อนและบุคคลที่ ใกลชิด ไมวา
จะเปนการนั่งหรือยืนจะอยูหางกัน 1/12-4 ฟุต ซึ่งจะขึ้นอยูกับความสัมพันธของทั้งสองฝาย
ค. ระยะสังสรรค (Social Distance) เปนระยะหางที่ออกไปจากระยะสวนบุคคลใชกันมากใน การเจรจา
ธุรกิจตาง ๆ ทั้งแบบทางการและไมเปนทางการ
ง. ระยะหางไกล (Public Distance) เปนระยะที่หางเกินกวา 12-15 ฟุต หรือเกินกวานั้น
2.2 กาลภาษา (กา-ละ-พา-สา) หมายถึง ภาษาที่เกิดขึ้นจากลักษณะของเวลาหรือระยะเวลาขณะสื่อสาร
กัน ระหวางผูสงสารและผูรับสาร จะเห็นไดวากาลภาษานั้นก็มีความสําคัญอยางยิ่งในการติดตอสื่อ
สารกันในชีวิต ประจําวันไมวาจะในทางธุรกิจ หรือสวนบุคคล เชน ในการนัดพบพูดคุยในทางธุรกิจนั้น
เราจะใหความสําคัญ มาก ตองไมตรงกับเวลาที่นัดถาหากไปสายจะมีความรูสึกวาผิดมาก สวนการนัด
พบอื่น ๆ นั้น จะไมคอยให ความสําคัญสักเทาใดนักอาจจะหาขอแกตัวอื่น ๆ ได
นอกจากนี้สภาพสังคมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม สภาพของชีวิตความเปนอยูจะมีอิทธิพลตอ การใช
เวลาอยางมาก เชน ราวตางประเทศในสังคมยุโรปอเมริกาจะถือเรื่องเวลาเปนสิ่งสําคัญ ถาไมตรงเวลา
แสดงถือวาเปนการดูถูก สวนในสังคมไทยเราไมคอยจะใหความสําคัญกับเวลาเทาไรนัก
ดังนั้นกาลภาษามีความสําคัญอยางยิ่ง ซึ่งผูสื่อสารควรใชกันอยางระมัดระวังเพื่อใหการติดตอ สื่อสาร
นั้นสัมฤทธิ์ผล
2.3 เนตรภาษา (เนด-ตระ-พา-สา) หมายถึง อวัจนสารที่เกิดจากการใชดวงตาหรือสายตา เพื่อถายทอดถึง
อารมณและความรูสึก ทัศนคติ ระหวางผูสงสารและผูรับสาร ซึ่งการสื่อสารจะดําเนินไป อยางดีนั้น
บางครั้งจําเปนตองใชการสบตาหรือสายตานั้นเขาชวยซึ่งการใชดวงตาหรือสายตานั้นสื่อใหทราบ ถึง
อารมณความรูสึกนึกคิดของผูสงสารไดลึกซึ้งกวาคําพูด
ตัวอยางการใชเนตรภาษาของคนไทยเพื่อสื่อใหทราบถึงอารมณความรูสึกตาง ๆ ความหมายพฤติ
กรรม เนตรภาษา
แสดงความดีใจ
แสดงความเสียใจ
แสดงความรัก
แสดงความกลัว
แสดงความโกรธ ไมพอใจ ประกายตาสดใส ตาวาว
ตาแดง ตาละหอย
ตาหวาน
ตาเหลือก
ตาเขียว ตาแข็งกราว
2.4 สัมผัสภาษา (สํา-ผัด-พา-สา) เปนอวัจนสารที่เกิดจากการในอาการสัมผัส เพื่อสื่อให ทราบถึงอารมณ
และความรูสึกตาง ๆ ตลอดจนความปรารถนาในสวนลึกของผูสงสารไปยังผูรับสาร เชน การอุม การ
กอดจูบ การลูบคลํา เปนตน ซึ่งบางครั้งไมจําเปนตองวัจนสารในการอธิบาย คือ การตบไหลนั้น เปน
การแสดงใหเห็นถึงความชื่นชมยินดีอยางสนิทสนมการโอบไหลแสดงใหเห็นถึงการปลอบเพื่อใหเกิด
ความสบายใจ เปนตน
2.5 อาการภาษา (อา-กา-ระ-พา-สา) หมายถึง อวัจนสารที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของรางกาย เพื่อการสื่อ
สาร เชน การเคลื่อนไหวศีรษะ แขน ขา ลําตัว ตลอดจนสีหนาทาทางตาง ๆ ซึ่งในขณะที่มีการสนทนา
กันอยูคูสนทนาอาจจะแสดงอาการตาง ๆ ออกมาซึ่งจะสื่อใหทราบถึงชวงของอารมณและ ความรูสึก
ของเขาขณะนั้นไดเปนอยางดี
2.6 วัตถุภาษา (วัด-ถุ-พา-สา) หมายถึง อวัจนสารที่เกิดจากการใชวัตถุสิ่งของตาง ๆ เพื่อ สื่อความหมาย
บางประการใหปรากฎ ซึ่งไดแก สิ่งของทุกขนาดทุกชนิดที่สามารถใชสงสารบางประการได รวมทั้ง
เครื่องประดับตกแตงรางกายถือไดวาเปนวัตถุภาษาแทบทั้งสิ้น วัตถุภาษานั้นสามารถสื่อใหทราบถึง
สถานภาพทางสังคมทางบุคคลเหลานั้นไดอาศัยอยู เชน การเลือกใชสีสันของเครื่องแตงกาย การเลือก
ใชน้ำหอมกลิ่นตาง ๆ ซึ่งอาจจะบงบอกถึงความหมายบางประการซึ่งเสื้อผาเครื่องแตงตัวตาง ๆ อาจ
สื่อใหทราบ ถึงอาชีพ ความรูสึก บุคลิกตลอดจนถึงสถานภาพไดเปนอยางดี
ปจจุบันนี้จะเห็นไดวาคนเราไดหันมาใหความสําคัญตอวัตถุกันมาก เชน เสื้อผาที่มียี่หอสื่อใหทราบ ถึงความมีรสนิยม
ดี ซื้อรถราคาแพง ๆ ขี่ใหสมกับตําแหนง ฐานะเปนตน ซึ่งไมไดหมายความวาจะสื่อความ หมายไดถูกตองเสมอไปจําเปนตอง
พิจารณาสิ่งอื่นประกอบดวย
2.7 ปริภาษา (ปะ-ริ-พา-สา) หมายถึง การใช้
สียงประกอบถอยคําที่พูดซึ่งน้ำเสียงจะ บงบอกถึงอารมณ
และความรูสึกไดเปนอยางดี ซึ่งไดแก เสียงเบา ออนหวาน ตะคอก กระซิบ เปนตน ซึ่งน้ำเสียงจะเปน
ตัวกําหนดวาคําพูดตาง ๆ เหลานั้นมีความนาเชื่อถือเพียงใด ซึ่งจะรวมไปถึงการออกเสียงที่ไม เปน
ภาษาพูดดวย ไดแก ระดับเสียงสูงต่ำ ความดังคอย เปนตน สวนปริภาษาในการเขียนไดแก วรรคตอน
ยอหนาขนาดตัวหนังสือ เปนตน
นอกจากนี้ปริภาษาที่เกี่ยวกับการพูดนั้นถือวา "น้ำเสียงจะมีความสําคัญมากกวาเนื้อหา ถาน้ำเสียง และเนื้อหาวัดกัน
ผูฟงจะตัดสินขอความจากน้ำเสียง" เพราะน้ำเสียงจะถายทอดอารมณและความรูสึกของผู พูดออกมาและสามารถสื่อความ
หมายไดดวย
|
|