***เรียนให้สนุกในโลกแห่งสังคมข่าวสาร ไร้ขอบเขต ไร้พรมแดน***


ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น
รศ.จุมพจน์ วนิชกุล/ ผศ.ฟ้อน เปรมพันธ์/ ผศ.วิไลวรรณ สันถวะโกมล/
อาจารย์ราตรี แจ่มนิยม/ อาจารย์นงนุช ถ้วยทอง
โปรแกรมวิชาการศึกษาทั่วไป
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี


คำอธิบายรายวิชา/แนวการสอน
(Course Overview)

สารบัญเนื้อหาวิชา

กิจกรรมการเรียนการสอน

สื่อการสอน

การประเมินผล
(Evaluation)

ตำราประกอบการสอน
(Texts and Materials)

แหล่งทรัพยากรสารนิเทศอื่นๆ
(Other Useful Resources)

แหล่งทรัพยากรเกี่ยวกับ Internet
(Resources about the Internet and Its Tools)

ตำราและวารสารอิเล็กทรอนิกส์
(On-Line Journals and Magazines)

แบบฝึกหัด

เฉลยแบบฝึกหัด

บรรณานุกรม

โน้ตจากผู้สอน


Home

ระดับภาษาในการสื่อสาร

การใชภาษาสื่อสารตองใชใหเหมาะสมกับโอกาส สถานการณ และสัมพันธภาพระหวางบุคคล ระดับภาษาเปนตัว กําหนดความเหมาะสม ชวยใหเกิดผลดีในการสื่อสาร ระดับภาษาแบงเปน 5 ระดับ คือ
1. ระดับพิธีการ ภาษาระดับนี้ใชสื่อสารกันในที่ประชุมที่จัดขึ้นอยางเปนพิธีการ เชน การเปด ประชุมรัฐสภา การ กลาวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตร หรือประกาศนียบัตร การกลาวสดุดี การเขียนรอย แกวอยางประณีต ผูสง สารมุงแสดงออกใหเห็นถึงความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ ความทรงภูมิปญญา ฯลฯ ไม มุงประโยชนที่จะใหผูรับสาร ไดมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น หากจะมีการกลาวตอบก็ตองกระทําอยางเปน พิธีการในฐานะผูแทนกลุมเทานั้น
2. ระดับทางการ ภาษาระดับนี้มิไดมุงหมายที่จะใหผูฟงมีสวนรวมในการสื่อสารโดยตรงเชนกัน ผูสงสารมุงเสนอ ขาวสารแนวคิดและทรรศนะ ไปสูกลับรับสารขนาดใหญ เชน การแถลงขาวอยางเปนทาง การตอสื่อมวลชน การ ใหโอวาทตอคณะบุคคล การเขียน บทบรรณาธิการในหนังสือพิมพ การเขียนบทความ ทางวิชาการ
3. ระดับกึ่งทางการ ภาษระดับนี้มักใชในการปรึกษาหารือกิจธุรกิจระหวางบุคคลหรือกลุมบุคคล มีการเปดโอกาส ใหผูรับสารมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นรวมกับผูสงสาร ภาษาระดับนี้จะใชในการประชุมกลุม การปรึกษางาน การวางแผนรวมกัน การเขียนบทความแสดงทัศนะในหนังสือพิมพ การเสนอรายการสารคดี กึ่งวิชาการ
4. ระดับสนทนา อาจเรียกวา ระดับลําลอง ภาษาระดับนี้มักใชในการสื่อสารกับเพื่อนสนิท อาจมี ถอยคําที่เคยใช กันเฉพาะกลุมหรือเขาใจความหมายตรงกันในกลุมเทานั้น
5. ระดับกันเอง ภาษาระดับนี้จะใชในวงจํากัด ใชระหวางบุคคลที่สนิทสนมคุนเคยกัน มาก ๆ สถานที่ที่ใชมักเปนที่ สวนตัว เชน ที่บานในหองที่เปนสัดสวนของตนโดยเฉพาะ ถอยคําที่ใชอาจมีคํา แสลง คําที่ใชเฉพาะกลุม ภาษา ระดับนี้ไมนิยมบันทึกเปนลายลักษณอักษรภาษาของมนุษยนั้นมีหลายระดับ ผูที่ประสบความสําเร็จในการสื่อ สารตองรูจักและฝกฝนการใช ภาษาใหถูกตอง ภาษามีความสําคัญในฐานะเปนเครื่องมือสืบคนความรูตาง ๆ ที่คนรุนปจจุบันไดเรียนรูนั้น เปนผลมาจากการคิดคน การทดลองรวบรวมประสบการณ หรือความคิดเห็นจากคนรุนกอนที่บันทึกไวผานสื่อตาง ๆ เชน เอกสาร สิ่งพิมพ แถบบันทึก เสียง วีดิทัศน ภาพยนตรซีดี-รอม แผนซีดี อินเตอรเน็ต ฯลฯ ซึ่งมนุษยจะสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆ นอกเหนือจากที่ตนประสงค เองไดโดยอาศัยภาษาเปนเครื่องมือในการสืบคน สังคมมนุษยจึงพัฒนาโดยตอเนื่องตลอดมา ถาไมมีภาษามนุษยคงตองใช เวลาหาความรู ประสบการณ และคิดคนดวยตนเองมากกวาจะเรียนรูสิ่งที่มนุษยในอดีตไดคนพบกันไวแลว ศศิธร ธัญลักษณ นานันทและคณะ (2542:29-30) ไดกลาววา โดยปกติกระบวนการในการสืบคนของมนุษยก็จะมีขั้นตอนที่สําคัญอยู 3 ขั้นตอน คือ
1. ขั้นที่ผูสืบคนปรับสภาพของตนใหพรอมที่จะรับสาร ไดแก ปรับอารมณ ปรับจิตใจ ปรับสภาพอากาศ ปรับเวลา ปรับเครื่องรับ กรณีที่จะสืบคนผานเครื่องมือสื่อเทคโนโลยี เชน หากตองการสืบคนจากเอกสารการพิมพ ผูสืบคน ที่ดีก็ควรมีอารมณที่แจมใส มีสมาธิ หากสถานที่ที่มีแสงสวางและอากาศที่พอเหมาะ ตลอดจนรูจักคัดสรร เอกสารสิ่งพิมพที่เห็นวาจะใหขอมูลตรงตามที่ตนตองการมากที่สุด
2. ขั้นที่ผูสืบคนแปลความหมายของสัญลักษณเพื่อทําความเขาใจ ขั้นนี้อาจเรียกไดวาเปนขั้นถอดรหัส สาร ผูสืบ คนจําเปนตองอาศัยความรูความสามารถทางภาษา เขาไปพิจารณาเพื่อแปลความหมายหรือตีความ สัญลักษณ เหลานั้นสัญลักษณที่ผูสงสารใชนั้น อาจไมใชตัวอักษรเสมอไป แตอาจเปนสัญลักษณในรูปแบบตาง ๆ เชน เปน เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ตาราง กราฟ แผนภูมิ
3. ขั้นที่ผูสืบคนนําความเขาใจไปใช หมายถึง พฤติกรรมหลังจากที่ผูสืบคนไดรับรูสาร หรือเขาในสาร นั้นแลว ผูสืบ คนอาจนําความเขาใจนั้นไปใชประโยชนในการเขียนรายงาน หรือนําเสนอตอที่ประชุม หรือจะเก็บไว เปนความรู เปนความพึงพอใจเฉพาะตน ก็ยอมขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการสืบคนในแตละครั้ง ในกระบวนการการสืบคนทั้ง 3 ขั้นตอนนี้ภาษาจะเปนเครื่องมือที่มีบทบาทสําคัญอยางยิ่ง เชน การคัด สรรสื่อสาร สนเทศในขั้นตอนที่ 1 ผูสืบคนตองใชภาษาในการพิจารณาและการตัดสินใจวาจะเลือกสื่อสารสนเทศชิ้นใด สวนในขั้นตอนที่ 2 และ 3 นั้น เปนเรื่องของภาษาโดยแทจริง เพราะถาหากผูสืบคน ไมมีความรูความสามารถทางภาษา เชน อานหนังสือไมออก ไมเขาในศัพท ฯลฯ ยอมไมสามารถแปลความหมาย ของสัญลักษณที่สืบคนได และยิ่งในขั้นตอนสุดทายซึ่งเปนขั้นการนําไปใช ประโยชนนั้น ผูสืบคนจําเปนตองมีความ สามารถทางภาษาที่อยูในระดับดีพอสมควรจึงจําเปนตองมีความสามารถทางภาษาที่ อยูในระดับดีพอสมควรจึงจะทํา ใหบรรลุผลตามที่มุงหมายไวได จากเหตุผลและขอเท็จจริงดังกลาว เราจึงสามารถกลาวไดวา แมในปจจุบันหรือในอนาคต เราจะมี เครื่องมือสื่อสาร สนเทศมากมายและทันสมัยเพียงใดก็ตามภาษาก็ยังมีบทบาทสําคัญในการสืบคนอยูทุกขั้น ตอนอยางที่ไมอาจจะปฎิเสธไดซึ่ง ทัศนีย กระตายอินทร (2542 : 29-30) ไดกลาวถึงกระบวนการสืบคนความรู โดยใชภาษาเปนเครื่องมืออาจทําไดหลายลักษณะ ไดแก การฟง การฟงเปนทักษะที่ใชมากที่สุดการฟงทําใหเปนคนรอบรู เปนการสงเสริมปญญา ผูที่รูคุณคาของการฟง จะได แนวความคิดความรูไปใชในการพูดและการเขียน การฟงอยางไรจุดมุงหมายยอมได ประโยชนนอยกวาการฟงอยางมีจุดมุง หมาย ผูฟงที่ดีตองสามารถจับเนื้อความของ เรื่องที่ได และนําเนื้อความนั้นมาพิจารณาวาผิด ถูก โดยอาศัยความรูที่เรามีอยู เมื่อไตรตรองโดยรอบคอบและเห็น วาถูกตองแลวจึงยอมรับ การอาน การอานชวยทําใหเกิดความงอกงามทางสติปญญา เปนวิธีการหนึ่งที่มนุษยใชศึกษาหาความรู ใหแกตนเอง ตลอดมา การอานเปนการสงเสริมและพัฒนาสติปญญา ความคิด และเพิ่มพูนประสบการณ นอกเหนือ จากความบันเทิง อารมณที่ไดรับ โดยเฉพาะในยุคปจจุบันความกาวหนาทางเทคโนโลยีและวิทยาการใหม ๆ รุดหนาไป อยางรวดเร็ว ลวนแตมี อิทธิพลตอความเปลี่ยนแปลงในการดํารงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผูอานมิใชแตเพียง อานออก อานได แตตองอานเปน คือตองรูจักอานอยางวิเคราะหวิจารณจึงจะสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนได
การรูจักอานหนังสือมีสวนชวยสรางความสําเร็จในการดําเนินชีวิตของบุคคลไดมากผูที่มีความสามารถ พิเศษในการ อานมักจะไดรับความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะปจจุบันการอานขยายวงกวางออกไปมาก คือนอกจากอานหนังสือ แลว อาจจะตองรูวิธีอานขอมูลจากคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ต (Internet) อินตราเน็ต (Intranet) ซีดีรอม (C.D.Rom) อีกดวย การถาม เปนลักษณะการเก็บรวบรวมขอมูลตามเปาหมาย ในการตั้งคําถามผูซักถาม หรือผูสอบถาม จะตองกําหนด เปาหมายเอาไวลวงหนาวาตองการจะทราบเรื่องอะไร ในแงไหน แลวจึงตั้งประเด็นคําถามตามที่ตอง การ การถามอาจใชเปน การขยายรายละเอียดของขอมูล การคิด คือ กระบวนการใชสมองเพื่อพัฒนามโนภาพใหม ๆ ใหเกิดขึ้นในระบบการรับรูของ มนุษย การ คิดอาจจะคิดเพียงคนเดียวหรือรวมกันคิดก็ได คนเราจะมีความคิดไดก็ตอเมื่อเปดใจกวาง มีความตื่นตัวกับสภาพ แวดลอม สังเกตความสัมพันธระหวางสิ่งตาง ๆ ตอบตัวตลอดจนอานแลวคิดโตแยงสิ่งที่อานพบ
วิธีคิดมีหลายวิธี ไดแก วิธีคิด เชิงวิเคราะห วิธีคิดเชิงสังเคราะห วิธีคิดเชิงประเมินคา การสะสมความคิดกระทําไดโดยการศึกษาเลาเรียนทั้งทางตรงและทาง ออม การไดยินไดฟงมาก การได อานมาก การไดเห็นมาก และการไดฝกฝนความคิดอยูตลอดเวลา การบันทึก เปนการเขียนหรือจดเรื่องราว ขอมูลตาง ๆ การจดบันทึกเปนกระบวนการที่เกิดจากการรับ สารผานการ อาน การฟง การถาม การคิด การสังเกต แลวบันทึกเรื่องราวไว ขอมูลที่บันทึกอาจจะนําไปใชประโยชน ไดหลายลักษณะ ไดแก ใชประโยชนทางวิชาการ เชน นําขอมูลไปเขียนรายงาน หรือบทความทางวิชาการ หรือเปน การบันทึกเพื่อความจําเพื่อชวยใน การอางอิง หรือยอนกลับมาศึกษาหารายละเอียดเมื่อตองการ

 


Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2004
Revised:Junr 2004