จิงโจ้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จิงโจ้
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
ชั้นย่อย: Marsupialia
อันดับ: Diprotodontia
อันดับย่อย: Macropodiformes
วงศ์: Macropodidae
สกุล: Macropus
in part
ชนิด

Macropus rufus
Macropus giganteus
Macropus fuliginosus
Macropus antilopinus

จิงโจ้จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ macropod หรือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีแผ่นหนังคล้ายกระเป๋าอยู่ข้างหน้าท้อง เป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นออสเตรเลีย

เนื้อหา

[แก้] ลักษณะ

จิงโจ้แดงตัวผู้ในสวนสัตว์

มีลำตัวสูงยาว ประมาณ 30-40 เซนติเมตร จนถึงตัวเล็กเท่ากระต่าย เดินด้วย 2 เท้าด้วยวิธีการกระโดด [1] ลักษณะขางอเป็นรูป ตัว L กลับตัว[2] มีกลีบเท้าแบบกวาง ทำให้มักำลังขาในการแตะ เพื่อป้องกันตัวจากศัตรู และไม่สามารถเดินถอยหลังได้[3]


[แก้] อาหาร

กินพืชเป็นหลักและกินแมลงบางขนิดเพื่อเพิ่มโปรตีนให้กล้ามเนื้อด้วย

คนส่วนมาเชื่อว่าสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องพบเฉพาะที่ ทวีป ออสเตเลีย เท่านั้น ซึ่งไม่เป็นความจริง เนื่องจากมี พวกจิงโจ้ต้นไม้ และ ตัววอลลาบี้ป่า (forest wallabies) ที่อาศัยอยู่ใน ประเทศปาปัวนิวกินี อินโดนีเซีย

[แก้] สายพันธ์ที่พบ

จิงโจ้แดงสายพันธ์ (Macropus rufus)

มีสายพันธ์ราว 150 สายพันธ์ โดยมีการพบพระจายตัวในเขตของ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ทั้งใน ปาปัวนิวกินี เกาะสุมาตรา

ตัวอย่างสายพันธ์ที่มีประเป๋าหน้าท้องเช่น วอลลาบี จิงโจ้ต้นไม้ วอลลารู จิ้งโจ้แดง หมีโคอาล่า จิงโจ้แคระ [4]

[แก้] การขยายพันธ์

การขยายพันธ์ของจิงโจ้ ส่วนใหญ่จะเป็นการเลิ้ยงตัวอ่อนด้วยน้ำนม โดนการตั้งท้องประมาณ 30-45 วัน หลังจากนั้น ตัวอ่อนจะคลานมาจนถึงกระเป๋าหน้าท้องแล้วเลี้ยงตัวเองด้วยน้ำนมจนโตประมาณ 1 ปี ถึงจะออกจากกระเป๋าหน้าท้อง

[แก้] รายการอ้างอิง

Commons

เครื่องมือส่วนตัว

สิ่งที่แตกต่าง
การกระทำ
ป้ายบอกทาง
มีส่วนร่วม
พิมพ์/ส่งออก
เครื่องมือ
ภาษาอื่น