ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
โครงการห้องสมุดโรงเรียนในฝัน

***ร่วมสร้างองค์ความรู้ สู่การศึกษาตลอดชีวิต วิทยพัฒนาเด็กไทยในท้องถิ่น***


000 หมวดเบ็ดเตล็ด
(Generalities)

100 หมวดปรัชญา
(Philosophy)

200 หมวดศาสนา
(Religion)

300 หมวดสังคมศาสตร์
(Social Sciences)

400 หมวดภาษาศาสตร์
(Language)

500 หมวดวิทยาศาสตร์
(Pure Sciences)

600 หมวดเทคโนโลยี
(Technology)

700 หมวดศิลปะ
(The Arts)

800 หมวดวรรณคดี
(Literature)

900 หมวดประวัติศาสตร์
(Geography & History)


Home

   

ภาษาเขมรวันละคำ

คำทักทายพูดคุย ศัพท์ทั่วไป
สวัสดี ซัวซไดย, จุมเรี้ยบซัว ห้องน้ำ ต๊บตึ๊ก
สวัสดี(ตอนเช้า) อรุณซัวซไดย ขออีก/เอาอีก ซมเตี๊ยบ
สบายดีหรือ ซกสะบายดี (ถาม) จิตแพทย์ แป๊ดวิกอลจารึก
สบายดีค่ะ(ครับ) จ๊ะ (บาด) ซกสะบายดี เจ้าชู้ เปรี๊ยนเนียร
ขอให้มีสุขภาพดี สุขะเพียบละออ ช่างถ่ายรูป เจียงถอดรูป
ขอลา โซ้มเรีย, โซ้มจุมเรี้ยบเรีย เข็มขัด ซ้ายกราหวัด
ลาก่อน
เรียนซันเฮย เข้านอน โจรล-เด๊ก
ขอบคุณ ออกุน, ออกุนเจริญ ง่วงนอน
งองเงยเด๊ก
ผม, ฉัน ขยม ฝัน สุบิน
คุณชื่ออะไร เตอเนี้ยะชัวเว่ย เขียนจดหมาย ซอเซ้ ซ็อมบท
ฉันชื่อสมชาย ขยมฉม้วกสมชาย เขียนแผนที่ ซอเซ้ แผนตี้
ฉันไม่เข้าใจ ขยมเมิ่นยวลเต๊ วาดรูป กู๊รูปเพรียบ
ฉันขอโทษ ขยมโซ้มโต๊ก เช็ค มูลเตียนนะบัด
ซื้อของ : ช้อปปิ้ง แชมพูสระผม ซาบู๊เกาะเสาะ
ของนี้ราคาเท่าไหร่ โปร๊กบอกนี้ทรัยป่นหม้าน เครื่องบิน ยนเฮาะ (ยนต์เหาะ)
แพงไป ทรัยเปก โฆษก เนี้ยะโปรกา
ลดได้ไหม จ๊กทรัยบานเต๊ ตลาด พซา (ออกเสียงซาก็ได้)
ไม่มีเงิน อ็อดเมียนโร้ย การนับเลข
เครื่องคิดเลข เกรื้องกึ๊ดเลข 0 โซม
อาหารการกิน 1 มวย
กินข้าวอร่อยไหม บายชงัลเต๊ 2 ปี
อร่อย ชงัล 3 เบ็ย
อิ่ม แช-อต 4 บวย
น้ำแข็ง ตึ๊กกอ 5 ปรำ
น้ำแข็งยูนิต ตึ๊กกอดอม 6 ปรำมวย
พริกป่น มะเต๊ะหม็อด 7 ปรำปี
มะนาว ซมโกร๊ซฉมาร์ 8 ปรำเบ็ย
ข้าวหน้าหมู บายจรู๊ก 9 ปรัมบวน
ข้าวหน้าไก่ บายบวน 10 ด็อบ
ข้าวผัด บายชา 15 ด็อบปรำ
ข้าวผัดไก่ บายชามอน 20 มวยไพ
ใส่ไข่ดาว ไซปองเจียน 30 สามซับ
ขนมจีน แบ็งจ็อก 40 ซายซับ
ปลาทอด เตร็ยเจี่ยน 50 ห้าซับ
กาเหลาลูกชิ้น เประฮั้ดสะโคซุป 60 หกซับ
ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้น กุยเตียวประฮั้ดสะโค 70 เจ็ดซับ
บุหรี่ บาเร็ย 80 แปดซับ
กาแฟ กาเฟ 90 เก้าซับ
กาแฟดำ กาเฟเขมา 100 มวยร้อย
ขนม หน้ม 1,000 มวยปอน
แกงเผ็ด,ต้มยำ ซ็อมลอมจู 10,000 มวยมื่น
กระดาษชำระ เกราะด๊ะอะนะมัย 100,000 มวยแสน
ไม้จิ้มฟัน เฌอจักทมึน  โทรศัพท์  ทะมอ
คิดเงิน กึ๊ดโรย    

ลำดับญาติ 

หลาน  เจา                   

 ลูก  โกน                        

(ลูกสาว  โกนเสรย)                                                                                

ลูกชาย(ชาย  เปราะ)  โกนเปราะ          

น้อง  ผอูน             

พี่  บอง             

อาชาย,น้าชาย  ปู               

อาหญิง,น้าหญิง  มีง             

พ่อ  เอา               

แม่  แม              

ลุง  อุมทุม             

ป้า  อุม  ตู๊ด                

ตา  ตา              

ยาย เยย             

ทวด   ตวด                 

สาว  กระโมม  

หนุ่ม   กำเราะ   

หมวดต่อไปนี้ขอเชิญผู้รู้ต่อให้ โดยส่งข้อความมาที่นี่  เพิ่มเติม  เช่น  หมวด  อาการ  อากัปกิริยา  การกกระทำ  (สารวัตร  สุนทร  วงสา  นายสำราญ  แดงเจริญ  )

สวย,หล่อ  ละออ   

อ้วน  เทิด             

ผอม  สะกรวม               

รัก  สรัน              

เกลียด  สะเอิบร์

น่าเกลียด   นาสะเอิร์บ

ติดสัตว์   จำเจิง

หมาเห่า   สะแกปะรุ

หมาหอน  สะแกรู

ผีหลอก  ขะโมด  ลวง

โจรผู้ร้าย  จอ

หนาวใจ  ละเงียแจ๊ด

แสงสว่าง  พรือ

มืด  ยุบ  ละงิด

สีดำ  สบอนเขมา

เสียง  สำเลง

ปูน  กะบอ

อาเจียน  จะออ

เมาเหล้า  สะวงสะรา

หาว  สะงาบ

น้ำลายไหล  ตึกเมิดโฮ

ตีลังกา  เวยจะตีง

หงายท้อง  ผงากรอย

นอนคว่ำ  เดกปะกับ

ขว้างปา  จอน

ยิ้มหน่อย  ระยึมอะติด

ร้องไห้  แทรกยุม

ดีใจ  ลออเจ็ด

เขียนหนังสือ  เซ อะตรา

คนรักหาย  มะสะรัน  บั๊ด

เมียด่า  อะโปน  เจ

หลวงตาด่าเณร  โรกตาเจเณร

สอนไม่ฟัง  ปะเดามันสะดั๊บ

ดื้อตาใส  ดือพะเนก  ทรา

หวานปานน้ำผึ้ง  ปะแอมโด๊ด  ตึก  ขมุม

ด้านได้อาย  อด     มึกกระ  บาน  ขะมะ  เอิด

น้ำมาปลาปลากินมด  ตึกมอ  สม๊อด  ซี  เตรย

น้ำลดหมดกินปลา  ตึก  เจราะ  เตรย  ซีสม๊อด

บ้าดีเดือด    จะก๊วดเจีย  ปรุ

หวานเจี๊ยบ   ปะแอม พรม

เสือหิว  ครา  เครียน

สาวหน้ามืด  ขะมม  มุกระงิด

ดำปิ๊ดปี๋  ขะเมา  กะกิ๊ด

ประตูบ้าน  ถะเวียปะแตะ

ต้นเสา  ตะซอ

หลังคา  ตะโบน

หน้าต่าง  ปังอู๊ด

รั้งบ้าน  ระบอง ปะแตะ

กระทะ  กะแตะ

ทัพพี  เว้ก

มั้งนอน   มุงเด๊ก

หมอนหนุนนอน  ขะนอย  กรอย  เด๊ก

ผ้าห่ม  พวยตังเดิบ

น้ำปลา  ตึ๊กเตรย

ปลาเค็ม  เตรยไปร

มะนาว  โกรด

มะกรูด  โกร๊ดขะเมิล

มะขาม  มะปึน

เกลือ  บะเบ็น

น้ำตาลปีบ  สะกอปี๊บ

ไส้เดือน  จังเลน

ปลาช่อน  เตรย  ประตุ

ปลาดุก  เตรยอังแด็ง

ปลาหมอ  เตรยกรัน

น้ำพริก  เบ็น มะเตะ

ส้มตำ  บ๊อก   ระฮง

แกงเนื้อมะเขือ  สะรอ  แซ็ด  ดะตะเลิบ

ไข่ดาว  ทอดปวง

เนื้อแดดเดียว  แซ็ด  มะ  ไถง

เสื้อกล้าม  อาว  กะ

เสื่อ  กะเตน

ผ้าเช็ดหน้า  สะบ๊ด  จูด  มุก

แหวน  อะเจียน

ถุงเท้า  สะรอม  เจิง

เสื้อนอก  อาวกราว

แปรงฟัน  เดาะ  ถะมิน

แคะหู  แก๊ะ  ตะเจียก

เสาไฟ  อะสอ เพลิง

ผักแต้ว  อะ  ลุ  เหงียง

มะยม  กะต๊วด

มะพร้าว  ทุย  โดง  ทุย

มะม่วงดอง   สวาย  จรุ

ขนุนแก่  ขะนร  จะ

หนอนขี้ควาย  ตะเกา  อั๊ด กะเบรย

ปลากระดี่  เตรย กะเพรน

ปลาสลิด  เตรยกะทัว

มะพร้าวน้ำหอม  โดง ตึ๊ก กะโอบ

 

พีธี แซนจะตุม  ไหว้บรรพบุรุษ

เชิญบรรพบุรุษ  ลงมาจากสวรรค์  มารับเครื่องเซ่นไหว้

วันสารทแซนจะตุม      ตรงกับวันสารทไทยเดือนสิบ

 

ประโยชน์เป็นพิธี  สอนให้รู้  ถึงความกตัญญู  การรู้จักลำดับญาติเป็นพื้นฐานประวัติศาสตร์  รู้จักรากเง้าภาษา  คำศัพท์  ขนบธรรมเนียมประเพณี  การประกอบอาหาร ภูมิปัญญาหลายด้าน

 

คำศัพท์    เซ่นตายาย     เพี้ยนทับศัพท์ภาษาไทย   ภาษาเดิม      แซนจะตุม       ไหว้บรรพบุรุษ   ภาษาจะทับศัพท์มากขึ้น  เพราะการไม่ได้ใช้

 

1. เครื่องเซ่นไหว้

เครื่องใช้   

ธูป                        ตูปเตียน

เทียน                     เตียน

กับข้าว                   จำเรยย
ข้าว                      บาย

หมู                       จะรูก       

ไก่                       เมิรน

กุ้ง                       กระปรึ   ประกอง

หอย                    กระจอง

ปู                          กระดาม

ปลา                       เตรย

แกง                       สะรอ

ผัดหมี่                    ชามี
ขนม       

ข้าวต้มไส้หมู            นุมซอม  ตะไซ  จะรูก

ข้าวต้มกล้วย            นุมซอม  เจรก

ขนมเทียน               นุมเตียน

ขนมเข่ง                  นุมเค็ง

ข้าวเหนียวแดง          บายตะเนิรบ  กะฮอม

กระยาสารท             กระยาสารท

ข้าวเม้า          

ผลไม้      

กล้วย                     เจ็ก

มะพร้าว                  โดง

ของใช้    

กระจก                   กะเจาะ

หวี                        กะระ

กรรไก                    กรรไกร

เข็ม                        อัง  จุน

ด้าย                       กระแซ  สะปุก

เสื้อผ้า                    สปุดอาว

มีด                        กะเบ็ด

เครื่องดื่ม 

น้ำ                        ตึ๊ก

ของเมา   

เหล้า                     สะรา

ยาสูบ                     ถะนำจรัวะ

หมาก                    สลา

พลู                       มะรู

2.พิธีการ

 

เชิญพี่น้องทุกคนเข้านั่ง   เจิญ บอง ผโอน โจน มอ  อัง กุย  คาง ขะนง

                                 แซน  จะ  ตุม

ปู่  ตา                                  ตา

ย่า  ยาย                               เยย

ลุง                                      อุม  ทุม

ป้า                                      อุม  ตู๊ต

น้าชาย  อาชาย                       ปู

น้าหญิง  อาหญิง                     มีง

พี่ชาย                                  บอง ปรัวะ

พี่สาว                                  บอง  กระมม

น้องชาย  น้องสาว            ผโอนปรัวะ  ผอูนเสรย

 

 

ขณะนี้ทุกคนพร้อมแล้ว       ตอนนิ  ทุกเนียะ  กรุบ  เฮย

พนมมือ                         พนมได  จะปะ

จุดธูป  เทียน                   เจิบ(จะ)  เพลิง  ตูป  เตียน

สวด        โอม   สาธุ............................

 รอบที่  1 

ขอเชิญบรรพบุรุษลงมาเข้ามา  เจิญ  จะตุม  จัวะ  มอ  โจนมอ

ทุกคน                           กรุบนะ

ลงมา  เข้ามา                         โจน  มอ

ทานอาหาร ทานขนม         ฮบบาย  โฮบ นุม

เซ่นไหว้                        จะปะ

 

จุดธูปปัก  ของเซ่นไหว้  ทุกจาน

พนมมือ                         พนมได

วันนี้วันเวลาดี                  ไง  เนียะ  ไง เจีย  เวเรีย  ลออ

ผม  ฉัน  ขอเชิญ  บรรพบุรุษ  ขยม  อัญเจิญ  จะตุม

มีคนดังนี้  เอ่ยชื่อ             เมียน  สมุ  ตาม  นิ

ปู่  ตา      ..................   ตา ...............  

ย่า  ยาย  ......................   เยย.............

ลุง       ........................   อุม  ทุม.......

ป้า      .........................    อุม  ตู๊ต........

น้าชาย  อาชาย  ............   ปู...............

น้าหญิง  อาหญิง ......  มีง.............

ขอเชิญ  มารับประทาน       เจิน มอ  โฮบบาย

ให้อิ่มอร่อย                    ออย  จะงัน  จะแอด

ขาดเหลืออะไรให้บอก        มัน  เมียน  สะ  เอิย  ออย  ปรับ

ชอบกินอะไร                   ชอบ ซี  สะเอย

อยากได้อะไรให้บอกได้     เจิงบาน  สะเอย  ปรับ  บาน

เทเหล้า  เสริฟ                 จูน  สะรา

อิ่มแล้ว  บอกลา               จะแอด  เฮย  เส  สัง

พูดบอกบรรพบุรุษ             อึง  เยย  ปรับ  จะตุม

ปกป้องรักษา                   มันออย  อะนา เทอ  สะเอย

ดูแล                             จวย   เมอ

อย่าให้เจ็บป่วย                กม  ออย  จือแค

ให้ทำมาหากินรุ่งเรือง         ออย  เทอ  ซี  เจริญ

ทำนาได้ดี                      เทอ  แซ  บาน  เจีย

ขายของได้ดี                   รัวะ  ระเบาะ  บาน  เจีย

เลี้ยงวัวควายโตเร็ว           โก  กะเบย  ทุม  ระหะ

สาธุ                            จะปะ  จะตุม

เก็บธูป  จากทุกจาน ออก    เลอก  ตูป  ครุบ  จาน  จินง์      

ตัก  กับข้าว                     ดัวะ  จำเรยย  บาย

ตัด  กับข้าว                    กับ  จำเรยย  บาย

ใส่จาน  อื่น                     ดะ  จาน นัวะ                 

ส่งให้  ทางหน้าต่าง           จูน  ออย  เตีย บังอู๊ด

เทเหล้า                                จระ สะรา 

ส่งเหล้า                                จูนง์  สะรา

ให้ดื่มรอบวง  ครบคน         ออย  เพาะ  รอบวง  กรุบ  นะ

เลื่อนกับข้าว                   อึงเวรน์  จำเรยย  บาย

เท่ากับนำเครื่องไหว้ชุดใหม่ เข้า

ยกกับข้าวชุดใหม่มาแล้ว     เริก  จำเรยย  บาย  ทะเมย  มอเฮย

แล้วทำพิธี                      เทอ  ปิธี 

เหมือน  รอบแรก              โดดย์  คะเนีย  เตียะ

รอบที่  2

รอบที่  3

3 พิธีส่งบรรพบุรุษกลับสวรรค์           ปิธู  จูนจะตุม  ตะเลิบ

บอกให้ลูกหลานไปหาของ  ปรับ  โกน  เจา เตา  รัว  ระเบาะ

มาทำเรือบรรทุกของ          มอ  เทอ  ตูก  ดะ  ระเบาะ

ลูก                                โกน

หลาน                           เจา

ต้นกล้วย                       เดอม  เจ็ก

ไม้ไผ่                           อะ  เซอย

ธูปเทียน                               ตูป  เทียน

กับข้าว  ของ ส่งบรรพบุรุษ จำเรยย  บาย ระเบาะ  จูน  จะ  ตุม

ข้าวสาร                         อังกอ

ถั่ว  งา                          สันแดก  ระกัว

กะปิ                                    กะปิ

น้ำปลา                           ตึก  เตรย

หอม                             กระติมซอ

กระเทียม                       กระติมกระฮอม

พริกแห้ง                        มะเตะ

เกลือ                             อัง  เบน

เงิน                              ประ

กับข้าวของใช้ทุกชนิด

4 นำของใช้บรรจุลงเรือ  ที่ท่าน้ำ  สระน้ำ  บ่อน้ำ 

กล่าว คำส่ง

ไหว้  บรรพบุรุษ              จะปะ  จะตุม

จุดเทียน  ธูป                         จะเพลิง  เตียน  ตูป

สวด      โอมสาธุ             ..........................

ขอให้บรรพบุรุษไปดี                 ซม  ออย  จะตุม  ตะเจีย  เจีย

 

เอ่ยชื่อผู้ที่  ส่งกลับ           ................................

 

โอม  สาธุ                     .......................



หมวด  คำนามเรียนชื่อสัตว์

 

หมวด  คำนามเรียกชื่อพืช

หมวด  อากาศ  ร้อน   หนาว  ฝน 

หมวด  ทรัพยากร  ดิน  หิน  น้ำ  เพชร  เงิน  ทอง  ภูเขา  แร่ธาตุ

หมวด  ศาสนา

หมวด  มารยาท  สังคม

หมวด  บอกขนาดปริมาณ  ความสูงต่ำ ลึก   ระยะทาง                  

ความรู้เพิ่มเติม   มูลเหตุต่างๆของการสร้างปราสาท 
• มูลเหตุของการสร้างปราสาท มาจากอิทธิพลความเชื่อต่างๆทางศาสนาเป็นแรงบันดาลใจให้พระเจ้าแผ่นดินเขมร ได้ก่อสร้างปราสาทที่ใหญ่โตและงดงามไว้มากมาย คำว่า “ปราสาท” ไม่ได้หมายความว่าเป็นปราสาทพระราชวัง และก็ไม่ใช่ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ แต่เป็นที่อยู่ของเทพเจ้า โดยรูปแบบของปราสาทนั้นจะมีลักษณะแบบ “ศาสนาสถาน มีคูน้ำล้อมรอบ และยังมีการแกะสลักหินให้มีลวดลายเป็นพญานาค เพื่อแสดงถึงสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ที่มีอยู่ในอาณาจักรนั่นเอง”
วัตถุประสงค์ในการสร้างปราสาทแยกได้ดังนี้คือ
1.สร้างปราสาทขึ้นเพื่อเป็นพระราชสุสาน โดยมีความเชื่อว่า เมื่อพระมหากษัตริย์สวรรคต ดวงวิญญาณของพระมหากษัตริย์ก็จะหลอมรวมกับเทพเจ้าที่พระองค์เคยนับถือ
2.สร้างปราสาทขึ้นเพื่อต้องการจะให้เป็นสถานที่เคารพสักการะในทางศาสนา
3.สร้างปราสาทขึ้นเพื่อต้องการให้เป็นศูนย์กลางของเมือง ได้แก่ ปราสาทบายน ปราสาทปาปวน และปราสาทพนมบาแค็ง
4.สร้างปราสาทขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกแก่ดวงวิญญาณของพระอดีตมหากษัตริย์ ได้แก่ ปราสาทแม่บุญ ปราสาทตาพรหม และปราสาทพระขรรค์
ความเชื่อทางศาสนาของอาณาจักรขอม
• ในช่วงพุทธศักราชที่ 500 ศาสนาพราหม์ที่ได้มีการนับถืออยู่ในประเทศอินเดีย ได้มีการเริ่มแผ่กระจายขยายอิทธิพลไปยังดินแดนกัมพูชา โดยเข้ามาตามเส้นทางของการค้าขาย และใน ช่วงเวลาไม่นานชาวกัมพูชาต่างก็ยอมรับศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพราหมณ์จะมีความโดเด่นและรุ่งเรืองในกัมพูชาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6-16 จากนั้นก็มีการสร้างปราสาทและรูปเคารพขึ้นมากมาย
ลัทธิเทวราชา
ลัทธิเทวราชา คือ เป็นความเชื่อตามคติพราหมณ์หรือฮินดูที่ได้มีการยกย่องให้กษัตริย์เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนแห่งเทพเจ้าที่อวตารลงมาสู่โลกมนุษย์ ด้วยเหตุนี้เองจึงมีการสร้างเทวสถาน อีกทั้งยังมีความเชื่อกันอีกว่า หลังจากที่กษัตริย์สวรรคต ก็จะกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับเทพเจ้า ส่วนวิญญาณก็จะประทับอยู่ในเทวสถานหรือปราสาท ด้วยความเชื่อนี้กษัตริย์ขอมที่มีความเชื่อศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย หลังจากที่ได้ขึ้นครองราชย์ก็ได้ทำการก่อสร้างเทวสถานขึ้นมาเพื่อประดิษฐานศิวลึงค์ เพราะถือว่าเป็นตัวแทนของพระศิวะ และยังเปรียบเสมือนเป็นทิพย์วิมานของเทพเจ้าที่อยู่บนโลกมนุษย์อีกด้วย
• ในช่วงยุคแรกๆเทวสถานจะสร้างอยู่บนภูเขาหรือเนินเขาที่เป็นธรรมชาติ ในการบูชาศิวลึงค์ที่ได้ประดิษฐานอยู่บนยอดเขานั้น เปรียบเสมือนกับการที่ได้บูชาพระศิวะที่ซึ่งประทับอยู่บนยอดเขาไกรลาศแล้วยังอยู่บนเขาพระสุเมรุ ซึ่งถูกจัดไว้เป็นศูนย์กลางจักรวาล หลังจากนั้นจึงได้มีการปรับเปลี่ยนโดยการสร้างเทวสถานขึ้นมาใหม่ในบริเวณพื้นที่ราบใจกลางเมือง ซึ่งลักษณะในการก่อสร้างนั้นอาจสร้างภูเขาจำลองขึ้นมาแทน จากนั้นก็ได้ประดิษฐานศิวลึงค์ไว้ในปราสาทที่มีความสูงที่สุด หรือเรียกว่าปรางค์ประธาน ซึ่งกษัตริย์กษัตริย์ขอมได้ทำพิธีเซ่นไหว้บูชา โดยมีการรดน้ำลงที่ศิวลึงค์ ลักษณะของน้ำต้องไหลออกมาทางช่องโยนี แล้วผ่านท่อโสมสูตร ดังนั้นศิวลึงค์ได้ถือเป็นต้นกำเนิดของชีวิตและมีความศักดิ์สิทธิ์ เพราะได้ตั้งอยู่บนภูเขาธรรมชาติหรืออาจอยู่ใจกลางเมือง เปรียบเสมือนกับแกนหรือศูนย์กลางของจักรวาลนั่นเอง
ศาสนาพุทธในอาณาจักรดินแดนขอม
• ศาสนาที่รุ่งเรืองในอาณาจักรขอมมี 2 ศาสนาคือ ศาสนาฮินดู และ ศาสนาพุทธ โดยศาสนาพุทธมีอยู่ 2 นิกาย คือหินยานและมหายาน
• 1.พระพุทธศาสนานิกายหินยาน จะให้ความนับถือพระพุทธเจ้าแล้วยังต้องยึดถือตามพุทธโอวาทอีกด้วย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 นิกายหินยานมีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมากจนถึงปัจจุบัน
• 2.พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ได้มีการผสมผสานควบคู่กับการนับถือเทพเจ้าฮินดู มีความเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงสร้างโลกนี้ขึ้นมา และยังได้มีการนับถือพระโพธิ์สัตว์ เพราะเคยเป็นอดีตชาติของพระพุทธเจ้า ทางด้านพระโพธิ์สัตว์ที่เคารพก็คือ พระโลกิเตศวร และพระอวโลติเกศวร ในช่วงสมัยพระนครเมืองพระนครถือได้ว่า พระพุทธศาสนามหายานเป็นที่นับถือกันอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1
ซึ่งในแต่ละยุคแต่ละสมัย ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู ได้ผลัดกันเจริญรุ่งเรือง เพราะอยู่ที่ว่ากษัตริย์ที่ขึ้นปกครองเลือกนับถือศาสนาไหนเป็นหลัก
รูปเคารพของพุทธศาสนานิกายมหายาน
• พระโพธิ์สัตว์ หมายถึงปางก่อนๆของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งมีความเป็นใหญ่ในโลกแต่เปี่ยมล้นด้วยความเมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา อีกทั้งเป็นผู้มองลงมายังเบื้องล่างเต็มไปด้วยความเมตตา กรุณา และมีความปรารถนาที่จะช่วยเหลือมนุษย์ให้พ้นจากความทุกข์ เมื่อครั้งก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ โดยเฉพาะในชาดกของพุทธศาสนานิกายมหายาน พระโพธิ์สัตว์มีจำนวนมากมาย ซึ่งทรงฤทธิ์อำนาจเพื่อจะต้องคอยปกปักรักษาให้ความคุ้มครอง ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่มีความเคารพนับถือในพุทธศาสนานิกายมหายาน และที่สำคัญที่สุดคือจะต้องนำพาผู้ที่มีความเคารพนับถือที่มีอยู่มากมายไปสู่ปรินิพพานพร้อมพระองค์ด้วย
• พระโพธิ์สัตว์โลเกศวร หมายถึงพระโพธิ์สัตว์ที่ได้ตรัสรู้แล้ว แต่ยังไม่ยอมไปนิพพานเพราะมีความปรารถนาที่จะรอให้ความช่วยเหลือแก่ผู้คนและสัตว์ทั้งหลายให้หลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
• นางปรัชญาปารมิตา หมายถึง เทวีแห่งความฉลาดเฉลียวของพุทธศาสนานิกายมหายานในขณะเดียวกันจะเรียกว่า เป็นมารดาของพระพุทธเจ้าทั้งหลายด้วยกัน

ที่มา

ภาษาเขมรวันละคำ. (2553). ค้นเมื่อ ธันวาคม 7, 2553, จาก
http://www.koukaew.com/index.php?mo=3&art=237484

 


Copyright
All copyright rights in the Dewey Decimal Classification system are owned by OCLC. Dewey, Dewey Decimal Classification, DDC and WebDewey are registered trademarks of OCLC
Revised:September 2010


Send comments to Chumpot@hotmail.com